วันอาทิตย์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2554

Google Calendar

   สร้างความเรียบง่าย จัดระเบียบ (และผ่อนคลาย) การจัดระเบียบแผนงานของคุณไม่ควรจะต้องเป็นเรื่องหนักหนา และนั่นคือสาเหตุที่ทำให้เราสร้างสรรค์ Google Calendar ซึ่งเป็นบริการปฏิทินออนไลน์ที่สามารถใช้ร่วมกันได้ ด้วย Google Calendar จะได้ไม่ต้องพลาดทุกเหตุการณ์สำคัญในชีวิต ไม่ว่าจะเป็นวันเกิด การสังสรรค์ เกมสำคัญที่คุณรอลุ้น หรือเวลานัดคุณหมอ แสนสะดวกในที่เดียว
เมื่อใช้ Google Calendar คุณสามารถเพิ่มกิจกรรมและคำเชิญได้อย่างง่ายดาย แบ่งปันกับเพื่อนและครอบครัว (หรือเก็บเรื่องต่างๆ ไว้ดูคนเดียว) และค้นหากิจกรรมที่คุณสนใจจากทั้งเว็บ นี่คือการจัดระเบียบชีวิตในแบบฉบับที่ง่ายดาย



ขั้นตอนการเข้าใช้งาน

พิมพ์ URL ตามด้านล่างเลย หรือ สะดวก ค้นหา ก็ไม่ว่ากัน

ขั้นตอนต่อไปเราก็ใส่ Account ที่เราใช้กับ Gmail ได้เลย


หน้าตานี้ คือ หน้าตาของ Google Calendar สามารถปรับแต่งได้ตามความต้องการถ้าเราต้องการ สร้าง นัดหมายใหม่ ก็กด คำว่า Create Event ได้เลย



หน้าตาของ  Create Event แบบนี้ ใส่ลายละเอีดยแล้ว detail เข้าไป แล้วกด SAVE



เราก็จะมี นัดหมายเพิ่มขึ้นมา อีก 1 อัน    ในส่วนรูปด้านล่างให้เรากดค่ำว่า setting ส่วนของ My Calendar เพื่อที่จะเข้าไป setting ในการตั้งเตือนให้ ส่ง SMS ไปยังมือถือเรานั่นเอง



หลังจากที่กดเข้ามา ก็จะเจอกับหน้าตาแบบนี้ มาในส่วนของ Tap Mobile Setup อันนี้ ได้ Activate หรือ ยืนยันตัวตนไปเรียบร้อยแล้ว ถ้าใครยังไม่ได้ทำ ก็ กรอก ข้อมูลส่วนต่างๆ มือถือ แล้ว ทาง google ก็จะส่งเลข ยินยันในการ verificationมาทาง SMS  เราก็นำเลขนั่นไปกรอกที่ Verification code  แล้ว กด Finish setup เป็นอันในการทำ ขั้นตอนนี้



มาถึงหน้า create Event เราก็เลือกให้มัน ตั้งเตือน แบบ SMS ก่อนเวลานัดหมาย กี่นาที ก็สามารถทำได้

ข้อดี
1. Google Calendar เป็นบริการออนไลน์และให้บริการฟรี ซึ่งต่างกับโปรแกรมในคอมพิวเตอร์ที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อซื้อโปรแกรมมาใช้
2. โปรแกรมในคอมพิวเตอร์มีการแสดงกิจกรรมในรูปแบบได้น้อย ซึ่งต่างจาก Google Calendar ที่แสดงตารางกิจกรรมได้หลายรูปแบบมากกว่า
3. Google Calendar มีการแจ้งเตือนผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ส่วนโปรแกรมที่คล้ายกับ Google Calendar ไม่มีการแจ้งเตือนแบบนี้
4. Google Calendar ใช้งานได้ง่ายและสะดวกกว่า จึงทำให้ผู้ที่เริ่มใช้งานเข้าใจได้ง่าย
5. Google Calendar สามารถใช้ทุกที่ที่มีอินเตอร์เน็ตจึงทำให้สะดวกกว่าโปรแกรมที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ซึ่ง


โปรแกรม Microsoft Outlook ทำงานคล้ายๆกับ Google Calendar
หน้าหลักของโปรแกรม Microsoft Outlook 2007
  • Title Bar - ด้านบนสุดของหน้าต่างโปรแกรม สำหรับแสดงชื่อโฟลเดอร์หรืองานที่ทำอยู่
  • Menu Bar - สำหรับแสดงเมนูคำสั่งต่างๆ ของโปรแกรมที่เปิดใช้งาน ณ?ขณะนั้น
  • Standard Toolbar - เครื่องมือที่แสดงคำสั่งทีจำเป็นในขณะที่ทำงานตอนนั้นๆ
  • Auto Preview - กรอบแสดงรายการหลักของของ Outlook เพื่อการเข้าถึงงาน ณ ขณะนั้น
  • Reading Pane - กรอบแสดงรายละเอียดของเมลฉบับที่ถูกเลือก ณ ขณะนั้น
  • To-Do List - แสดงรายละเอียดของวันที่ การนัดหมาย และงานที่ต้องทำ
ข้อแตกต่าง ปัญหานี้เกิดขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงหมายเลขรุ่นของ Outlook 2007 หมายเลขรุ่นของ Outlook 2007 อาจเปลี่ยนแปลงเนื่องจากสาเหตุต่อไปนี้อย่างใดอย่างหนึ่ง:
  • คุณติดตั้งโปรแกรมแก้ไขด่วนสำหรับ Outlook 2007
  • คุณติดตั้งการปรับปรุงสำหรับ Outlook 2007
มีการติดตั้ง outlook 2007 มีตัวจัดการการติดต่อทางธุรกิจ "ทางธุรกิจผู้ติดต่อตัวจัดการสำหรับ Outlook" เพิ่มไว้ (BcmHistoryAddin.dll) นี้ add-in ที่เรียกใช้เมื่อโปรแกรม Office 2007 ในส่วน "อาการ" อย่างใดอย่างหนึ่งคือการเริ่มต้น เมื่อนี้เพิ่มไว้ทำงาน และมีการเปลี่ยนแปลงหมายเลขรุ่นของ Outlook 2007 ที่เพิ่มเข้าไม่ถูกต้องแสดงข้อผิดพลาดขึ้น
                   โปรแกรมในคอมพิวเตอร์มีการแสดงกิจกรรมในรูปแบบได้น้อย ซึ่งต่างจาก Google Calendar ที่แสดงตารางกิจกรรมได้หลายรูปแบบมากกว่า

วันพฤหัสบดีที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สรุปเนื้อหาบทเรียน เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
         - Hardware
         - Software
         - People
         - Date/Information

บิต(Bit)คือ หน่วยที่เล็กที่สุดที่อาจเป็นเลข 0 หรือ1
ไบต์(Byte)คือ กลุ่มของบิต จำนวน 6-8บิต

CPU : Central Processing Unit
CPU หรือ โปรเซสเซอร์(Processor) คือ วงจรประมวลผลหลักที่เป็นตัวประมวลผลตามชุดคำสั่ง

รูปร่างของCPU
CPU แต่รุ่นและแต่ละผู้ผลิตจะมีรูปร่างลักษณะและโครงสร้างเช่นขนาด หรือ จำนวนขา ไม่เหมือนกัน ซึ่ง CPU สำหรับ PC ปัจจุบันแบ่งเป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ
1. แบบ Cartridge จะมีรูปร่างเป็นตลับแบนๆ หุ้มด้วยกล่องพลาสติก สำหรับเสียบในช่องเสียบแบบ Solt
2. แบบ PGA จะมีลักษณะเป็นชิปแบนๆ มีขาจำนวนมากอยู่ใต้ตัว CPU สำหรับเสียบลงใน Socket สามารถแบ่งย่อยได้หลายแบบ

CPU จากค่ายต่างๆ
ปัจจุบัน ผู้นำตลาด CPU สำหรับไมโครคอมพิวเตอร์ได้แก่ Intel Corp ซึ่งผลิตCPU ในตระกูล X86 ซึ่งนอกจาก Intel แล้ว ยังมีผู้ผลิตอีกหลายราย ที่ผลิต CPU ที่ compatible กับ CPU Intel ได้แก่
            - AMD Advance Micro Device
            - VIA/Cyrix
            - IBM
            - Transmeta




วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สรุปเนื้อหาบทเรียน เรื่อง ระบบจำนวนและการแทนค่าข้อมูลในคอมพิวเตอร์

 เลขฐาน
    ระบบเลขฐานสอง  คือ  ระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นสอง มีสัญญลักษณ์ 2 ตัว คือ 0 กับ 1  ค่าตามตำแหน่งของส่วนที่เป็นจำนวนเต็มของเลขฐานสอง
   


  ระบบเลขฐานสิบ  การเขียนจำนวนในรูปทศนิยมคือการเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปเลขฐานสิบ ซึ่งมีสัญลักษณ์อยู่ 10 ตัว (0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9)


  ระบบเลขฐานแปด เป็นระบบตัวเลขที่มีค่าฐานเป็นแปด มีตัวเลขอยู่ 8 ตัว คือ
0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7





  ระบบเลขฐานสิบหก  มีตัวเลขอยู่ 16  ตัว  คือ
0  1  2  3  4  5  6  7  8  9  A  B  C  D  E  F



  การแปลงเลขฐาน 10 ให้เป็นเลขฐาน 8 ทำได้โดยเอาเลขฐานสิบตั้ง แล้วหารด้วยเลข
8 ไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งผลลัพธ์เป็น "0" ในการหารนั้นจะต้องเขียนเศษไว้ทุกครั้ง จากนั้นให้
เขียนเศษที่ได้จากการหารโดยเรียงลำดับจากด้านล่างขึ้นด้านบน
ตัวอย่าง      มีค่าเท่าไรในเลขฐานแปด
ผลลัพธ์ของการแปลง ให้อยู่ในรูปเลขฐานแปด คือ  

การแปลงเลขฐาน 8 ให้เป็นเลขฐาน 10 ทำได้โดยวิธีการคูณตัวเลขฐาน 8 ในแต่
ละหลักด้วยค่าประจำตำแหน่ง แล้วนำผลลัพธ์ที่ได้มารวมกัน จะได้เป็นค่าของ
เลขฐานสิบ
ตัวอย่าง        มีค่าเท่าไร ในเลขฐานสิบ
=
=
=
64 + 16 + 6
=
ผลลัพธ์ของการแปลง  มีค่าเท่ากับ    

การแปลงเลขฐานสองเป็นเลขฐานแปด
 
จัดเลขฐานสองทีละ 3 ตัว โดยเริ่มจากหลังไปหน้า
 
นำเลขที่จัดได้ แปลงเป็นเลขฐานสิบ
 
เขียนเลขฐานแปดแทนที่เลขฐานสอง เป็นคำตอบที่ได้

ตัวอย่าง      มีค่าเท่าไรในเลขฐานแปด
1
001
101
1
1
5
  มีค่าเท่ากับ  

การแปลงเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสอง

แปลงเลขฐานแปดให้เป็นเลขฐานสอง  เต็มสามหลัก วางเรียงตามลำดับ
 
จากข้อ1เลขฐานสองที่ไม่ครบสามหลักให้ใส่เลข 0 ด้านหน้าให้ครบสามหลัก
 
ค่าที่ได้คือคำตอบเลขฐานสอง
ตัวอย่าง      มีค่าเท่าไรในเลขฐานสอง
2
5
4
3
10
101
100
11
10
101
100
011
  มีค่าเท่ากับ  

รหัส BCD-8421(Binary Code Decimal-8421)
เป็นรหัสเลขฐานสอง ขนาด 4 บิต ใช้แทนเลขฐานสิบ0-9โดย 8 4 2 1 คือค่าประจำตำแหน่ง
ของลำดับบิต เช่น 0000-1001

รหัสเกิน 3 (Excess-3 code)
เป็นการนำรหัส BCD-8421มาดัดแปลงเนื่องจากรหัส BCD-8421มีค่าได้ตั้งแต่ 0000-1001
รหัสเกิน 3มีค่ามากกว่ารหัสBCD-8421 อยู่ 3


Decimal
BCD-8421
Excess-3
0
0000
0011
1
0001
0100
2
0010
0101
3
0011
0110
4
0100
0111
5
0101
1000
6
0110
1001
7
0111
1010
8
1000
1011
9
1001
1100
การคอมพลีเมนต์เลขฐานสอง       
1’s complement คือการกลับสถานะของสัญญาณ จาก 0 เป็น 1 และจาก 1 เป็น
 0 ทุก ๆ บิต เช่น 1’s complement ของ 1100011 คือ 0011100
2’s complement คือผลบวกของ 1’s complement กับ เช่น 2’s complement ของ
1100011 คือ 0011100 + 1 = 0011101 ซึ่งมีวิธีคิดแบบลัดคือ ให้มองจากบิตต่ำสุด
(ขวาสุด) ไปยังบิตสูงสุด(ซ้ายสุด) หา 1 ตัวแรกให้พบ หากยังไม่พบ ให้คงค่าเดิมเอาไว้
จนกระทั้งพบ 1 ตัวแรกก็ยังคง 1 ไว้ หลังจากนั้นให้เปลี่ยนค่าที่เหลือ จาก0 เป็น 1 และ
จาก 1 เป็น 0 ทั้งหมด
 
ตัวอย่างที่ 1.22
                             Binary Number        1’s complement          2’s complement
                                   10101                     01010                            01011
                                   10111                     01000                            01001
                                  111100                    00011                           000100
                                11011011               00100100                      00100101






สรุปเนื้อหาบทเรียน เรื่อง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศ(Information technology หรือ IT)หมายถึงเทคโนโลยีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศซึ่งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ง การแปลง การจัดเก็บ การประผล

ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 4 ส่วน
 - Hardware
- Software
    - Peopleware
                                                          - Data

ยุคของคอมพิวเตอร์มี 5 ยุค
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2501 ใช้หลอดสุญญากาศเป็นองค์ประกอบภายใน
                                                     - เครื่องขนาดใหญ่ใช้หลายหลอด
                                                     - มีความร้อนสูง
                                                     - ใช้งานติดต่อกันนานๆ หลอดอาจขาดหรือระเบิดได้
                                                     - การทำงานช้า เป็นวินาที (Second)
                                                     - ภาษาเครื่อง (Machine Language)
                                                     - สื่อ คือ บัตรเจาะรู

คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 2
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 ใช้หลอดทรานซิลเตอร์
                                                      - เครื่องมีขนาดเล็กลงกว่ายุคที่1
                                                      - ราคาถูก ใช้พลังงานน้อย
                                                      - เกิดความร้อนน้อยกว่า
                                                      - เร็วในการทำงานอยู่ใน 1 ในพันวินาที
                                                      - ภาษาสัญลักษณ์

คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 3
อยู่ระหว่างปี พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 ใช้วงจรร่วม IC มีแผงซิลิกอน
                                                      - เล็กลง
                                                      - ประสิทธิภาพสูง
                                                      - 1 ล้านวินาที
                                                      - ภาษาระดับสูง
                                                      - บันทึก คือ จานแม่เหล็ก
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 4
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2513 จนถึงปัจจุบัน ใช้วงจรร่วมขนาดใหญ่ VLST เรียกว่า ไมโครโปเซสเซอร์
                                                      - แรกของโลก 8800
                                                      - ความเร็วพันล้านวินาที
                                                      - ภาษาระดับสูง

คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5
มนุษย์พยายามนำมาเพื่อช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหา ปัญญาประดิษฐ์ใกล้เคียงมนุษย์
                                                      - ความสามารถในการใช้เหตุผล
                                                      - เรียนรู้
                                                      - จำลองความรู้สึกของมนุษย์

ตามขนาดและราคาของเครื่อง แบ่งได้ 4 ประเภท
                                                  1.ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์
                                                  2. เมนเฟรม
                                                  3. มินิคอมพิวเตอร์
                                                  4. ไมโครคอมพิวเตอร์


วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2554

การทำ Effects รถพุ่งออกจาก browser
ขั้นตอนที่1.
เปิดไฟล์ภาพสองไฟล์ที่เราจะมาประกอบทำ Effects ขึ้นสองไฟล์ดังตัวอย่าง



 ขั้นตอนที่2.
จากนั้นทำการเลือกภาพรถที่เราเตรียมไว้แล้วทำการตัดโดยอุปกรณ์ Lasso Tool แล้วทำการ Feather  ( Select --> Feather = 2 Pixels ) แล้วทำการ Copy (edit ---> Copy )แล้วสร้างไฟล์ใหม่ ( File --> New )เมื่อได้ไฟล์ใหม่แล้วทำการการ Paste รูปภาพลงไป ( Edit ---> Paste )  ก็จะได้ดังภาพ.



ขั้นตอนที่3.
จากนั้นกลับการทำงานมาอยู่ที่รูปภาพ Browser ที่เราเลือกทำการสร้างเส้น Selection รอบรูปภาพ (Select --> All ) ก็จะเกิดเส้น Selection แล้วทำการ Copy แล้วทำการ Paste ภาพลงไปแล้วให้ดัดภาพ โดยมาที่ Edit --> Transform --> Distort แล้วทำการดัดภาพดังรูปภาพ

ขั้นตอนที่4.
จากนั้นให้ทำกลับการทำงานมาที่รูปภาพรถที่เราตัดไว้แล้วทำการ Load Selection รูปรถขึ้นมา ( select --> load Selection ) แล้วทำการ Copy แล้วกลับการทำงานมาที่รูปภาพ Browser แล้วทำการ Paste ก็จะได้ Layer ใหม่ขึ้นมาแล้วทำการหมุน ( Edit ---> Transform --> Rotate ) หมุนและทำการหดภาพ ( Edit ---> Transform ---> Scale ) ดังภาพตัวอย่าง.


ขั้นตอนที่5.
จากให้การทำงานยังอยู่รูปรถแล้วทำการ Load Selection ขึ้นมาแล้วทำการ Move Selection โดยให้ ใช้อุปกรณ์ Marquee Tool เลื่อนห่างออกจากตัวรถนิดหนึ่งดังภาพ. แล้วทำการ  Feather = 5 แล้วสร้างเส้น Selection ด้านนอกขึ้นมา ( Select ---> inverse ) แล้วทำการ Delete

ขั้นตอนที่6.
จากนั้นให้ทำการ Load Selection รถขึ้นมาแล้วทำการ Paste ก็จะได้ Layer ใหม่ (Layer3) แล้วทำการ Motion Blur ( Filter ---> Blur --> Motion Blur ) ปรับค่าต่างดังภาพ. แล้วทำการ Move ภาพออกมาด้านหลังนิดหนึ่งแล้วทำการปรับค่า Opacity ของ Layer = 75  ก็จะได้ดังภาพ


ขั้นตอนที่7.
จากนั้นให้กลับการทำงานมาที่ Layer2 (ภาพรถปกติ)แล้วทำการสร้างเส้น Selection รูปวงกลมไว้ล้อหน้า โดยใช้อุปกรณ์ Marquee Tool แล้วมาที่ Filter --> Blur --> Radial Blur แบบ Spin ให้ปรับค่า Amount = 50 ก็จะได้ดังแล้วทำการทำ Effects ที่ล้อด้านหลังอีกจะได้ดังภาพ

ขั้นตอนที่8.
จากนั้นให้สร้าง Layer ใหม่ขึ้นมาให้อยู่ข้างใต้ Layer1 โดยมาที่ Background แล้วทำการคลิ๊กไอค่อนรูปกระดาษ   (Create new layer ) แล้วใช้อุปกรณ์ Paint Brushes  แล้วทำการโชว์อุปกรณ์ Brushes ( Window --->  Brushes )แล้วให้เลือกหัวแปลงดังตัวอย่างแล้วทำการ Paint ให้เหมือนลักษณะ เงาเมื่อทำเสร็จแล้วให้ทำการปรับค่า Opacity Layer = 50 ก็เป็นอันเสร็จกระบวนการดังภาพ